ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การรันเลขหน้าในโปรแกรมindesign

การรันเลขหน้าในโปรแกรม indesign
สวัสดีครับ วันนี้นะครับ จะมาแนะนำการใช้งานโปรแกรม Adobe Indesign ในส่วนของการรันเลขหน้าแบบอัตโนมัติ


มาเริ่มกันเลย
ขึ้นตอนที่1 ในส่วนของหน้าต่างการใช้งาน หน้าตาก็จะเป็นแบบนี้



ขั้นตอนที่ 2 ไปที่ A-Master แล้วไปที่ Type สำหรับสร้างตัวเลขขึ้นมา


ขึ้นตอนที่ 3 ไปที่ Type > Insert Special Character > Marker > Current Page Nuber หรือจะกด Alt+Shift+Ctrl+N 



ขึ้นตอนที่ 4  เพื่อความสวยงาม จัดกึ่งกลางให้สักหน่อย จากนั้น ไป Copy  หรือจะ กดAlt  ค้างไว้แล้วลาก ก็ได้ครับ ง่ายดี วางตรงไหนก็ได้ อันนี้ผมวางไว้ตรงกลาง อาจจะใหญ่หน่อย เพื่อความชัดเจน 


ขึ้นตอนที่ 4  เพื่อความสวยงาม จัดกึ่งกลางให้สักหน่อย จากนั้น ไป Copy  หรือจะ กดAlt  ค้างไว้แล้วลาก ก็ได้ครับ ง่ายดี วางตรงไหนก็ได้ อันนี้ผมวางไว้ตรงกลาง อาจจะใหญ่หน่อย เพื่อความชัดเจน จากนั้นออกจาก A-Master มาที่หน้าปัจจุบัน แล้วลองสร้างหน้า Page ให้มาใหม่สัก2-3 หน้า จะเห็นว่า มันจะรันเลขหน้าให้เราอัตโนมัติเลย


ในส่วนของการรันเลขไทย ให้ไปที่ Character > Option > Open Type > Numerator  


  



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ส่วนต่างๆ ของโปรแกรม InDesign

หน้าจอโปรแกรม InDesign สำหรับการเริ่มต้นใช้โปรแกรม หน้าจอจะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ที่จะต้องทำความเข้าใจก่อนใช้งาน เพื่อการใช้งานที่สะดวก รวดเร็ว โดยในโปรแกรม InDesign แบ่งส่วนประกอบตามการทำงานออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่                 1. แถบคำสั่ง (Menu bar)                 2. กล่องเครื่องมือ (Toolbox)                 3. แถบการตั้งค่า (Option bar)                 4. พาเนลควบคุม (Panel)                 5. พื้นที่การทำงาน (Art board) แถบคำสั่ง (Menu bar) ส่วนด้านบนสุดของโปรแกรม InDesign จะเป็นแถบรวมคำสั่งหลักของโปรแกรม หรือที่เรียกว่า Menu bar ซึ่งลักษณะการทำงานก็จะคล้ายๆ กับ Menu bar ของโปรแกรมอื่นๆ เช่น Photoshop, Illustrator เป็นต้น เมื่อคลิกที่หัวข้อที่ต้องการจะมี Dropdown Menu เปิ ดแสดงคำสั่งย่อย ขึ้นมาให้เลือกใช้งาน กล่องเครื่องมือ (Toolbox) เป็นส่วนที่เก็บรวบรวมเครื่องมือที่ใช้ในการสร้าง ปรับเปลี่ยน โดยแบ่งออกเป็น 6 กลุ่มเครื่องมือ กลุ่มคำสั่ง Selection tools เกี่ยวกับการเลือกวัตถุ กลุ่มคำสั่ง Drawing and Type

ดาวน์โหลดโปรแกรม Adobe Flash CS6

Flash Flash โปรแกรม  Flash  เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย ,  ภาพเคลื่อนไหว ( Animation),  ภาพกราฟิกที่มีความคมชัด เนื่องจากเป็นกราฟิกแบบเว็คเตอร์( Vector),  สามารถเล่นเสียงและวีดิโอ แบบสเตริโอได้ ,  สามารถสร้างงานให้โต้ตอบกับ   ผู้ใช้ (Interactive Multimedia)  มีฟังก์ชั่นสำหรับการเขียนโปรแกรม ( Action Script)  และยังทำงานในลักษณะ  CGI  โดยเชื่อมต่อกับ   การเขียนโปรแกรมภาษาอื่นๆ ได้มากมาย เช่น ภาษา  PHP, JSP, ASP, ASP.NET, C/C++, C#, C#.NET, VB, VB.NET, JAVA และอื่นๆ โดยเฉพาะข้อดีของโปรแกรม  Flash  คือ ความสามารถในการบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็ก   มีผลทำให้แสดงผลได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นยังแปลงไฟล์ไปอยู่ในฟอร์แมตอื่น ได้หลากหลาย เช่น  avi, mov, gif, wav, emf,eps, ai, dxf, bmp, jpg, gif, png  เป็นต้น โปรแกรม  Flash  เริ่มมีชื่อเสียงประมาณปี พ.ศ.  2539  จนถึง ปัจจุบันได้ถูกนำมาใช้งานอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะเทคโนโลยีเว็บ ทำให้การนำเสนอทำได้อย่างน่าสนใจ นอกจากนั้น โปรแกรม  Flash  ยังสามารถสร้างแอพพลิเคชั่น ( Application)  เพื่อใช้ทำงานต่างๆ   รองรับการใช้งานกับอุปกรณ์ที่ เ